เทคโนโลยีเกษตรและนวัตกรรม : AIC

หน้าแรก / รายละเอียดองค์ความรู้

รายละเอียดองค์ความรู้

ชื่อศูนย์ AIC/CoEศูนย์ AIC จังหวัดเชียงราย
จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อองค์ความรู้นวัตกรรมการผลิตน้ำเชื้อโคนม–โคเนื้อคัดแยกเพศ 70% (Bull sperm sexing)
คำอธิบายเป็นนวัตกรรมที่ช่วยเพิ่มสัดส่วนลูกโคนมและลูกโคเนื้อให้ได้เพศตามต้องการ โดยปกติน้ำเชื้อที่ไม่ผ่านการคัดแยกเพศจะให้สัดส่วนลูกโคเพศเมีย : เพศผู้ที่เกิดตามธรรมชาติ เท่ากับ 50% : 50% การใช้นวัตกรรมน้ำเชื้อคัดแยกเพศถือว่าเป็นข้อดีเด่นสำหรับการเพิ่มศักยภาพในการผลิตปศุสัตว์อย่างยิ่ง ยกตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรมการผลิตโคนมมีต้องการลูกโคเพศเมียเป็นหลักเพื่อผลิตเป็นโคสาวทดแทน เมื่อโคสาวตั้งท้องและคลอดลูกก็สามารถให้ผลผลิตน้ำนมต่อไป ส่วนในอุตสาหกรรมโคเนื้อมีความต้องการลูกโคเพศผู้เป็นหลักเนื่องจากลูกโคเพศผู้เจริญเติบโตเร็ว สามารถขุนเพื่อให้มีโครงสร้างสะสมกล้ามเนื้อได้มาก ลูกโคเนื้อเพศผู้จึงเป็นที่ต้องการของตลาดโคเนื้อ ซึ่งประโยชน์ของนวัตกรรมน้ำเชื้อคัดแยกเพศจะช่วยลดต้นทุน-เพิ่มผลผลิตได้หลายประการ
แหล่งเงินทุนสวก วช สกว (เดิม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประเภทสิทธิบัตรสิทธิบัตรการประดิษฐ์
ออกสิทธิบัตรภายใต้ชื่อเพทาย พงษ์เพียจันทร์, วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์
เลขที่คำขอ-
วันขอรับสิทธิบัตร29-10-18
ชื่อผู้ประดิษฐ์เพทาย พงษ์เพียจันทร์, วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์
ชื่อแสดงถึงการประดิษฐ์“กรรมวิธีการคัดเพศน้ำเชื้อโดยปฏิกิริยาไซโตทอกซิคจากโมโนโคลนอลแอนติบอดี ต่อ เอช-วาย แอนติเจน”
วันออกสิทธิบัตร-
วันหมดอายุสิทธิบัตร-
ชื่อ-นามสกุลอาจารย์ ดร.ทฤษฎี คำหล่อ
หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สังกัดคณะคณะเกษตรศาสตร์
ภาคสาขาภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ
ที่อยู่239 ถนนห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
เบอร์โทรศัพท์053944069
อีเมลtrisdee.kha@gmail.com
URL/Website/Facebook/YouTubehttps://agri.cmu.ac.th/2017/webs/index_division/th/4
ชื่อ-นามสกุลนางสาวต่อนภา ผุสดี
หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์
ตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ
เบอร์โทรศัพท์0853758160
อีเมลtonapha.p@cmu.ac.th